ทอมสัน พิสูจน์ได้ว่า รังสีคาโธดเป็นอนุภาคประจุ
ไฟฟ้าลบ เรียกว่า "อิเลกตรอน"
ดังนั้น
E = สนามไฟฟ้า
B = สนามแม่เหล็ก (T)
R = รัศมีความโค้ง (m)
การทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน (หาค่าประจุของ
อิเลกตรอน)
ดังนั้น
q = ประจุหยดน้ำมัน (c)
m = มวลของหยดน้ำมัน (kg)
g = ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง (s/m2)
V = ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นโลหะ (m)
d = ระยะห่างระหว่างแผ่นโลหะ (m)
การทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด
k = ค่าคงที่ 9x109
Q2 = ประจุของอนุภาค = 2e
แบบจำลองอะตอมของเบอร์
1. อิเลคตรอนบางวงไม่แผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จะมี
โมเมนตัมเชิงมุมคงที่เป็นจำนวนเท่าของ
m = มวลของอิเลคตรอน
v = อัตราเร็วเชิงเส้นของอิเลคตรอน
r = รัศมีวงโคจร
n = เลขจำนวนเท่า (1, 2, 3, ...)
= ค่าคงที่
2. อิเลคตรอนจะรับหรือคายพลังงานเมื่อมีการเปลี่ยน
วงโคจรโดยที่
h = ค่าคงที่ = 6.6x10-34
f = ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
พลังงานอิเลคตรอนก่อนเปลี่ยนวงโคจร
พลังงานอิเลคตรอนหลังเปลี่ยนวงโคจร
ถ้า เป็น + หมายถึง คายพลังงาน
- หมายถึง ดูดพลังงาน
รัศมีแต่ละวงโคจร rn = (5.29x10-11)n2
พลังงานในแต่ละวง
ความเร็วของอิเลคตรอนแต่ละวง
รังสีเอกซ์
รังสีเอกซ์เกิดจากการที่อิเลคตรอนวิ่งไปชนเป้าที่เป็น
โลหะ ทำให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า
เป็นคลื่น)
V = ความต่างศักย์ระหว่างอาโนดกับคาโธด
หน่วยเป็น V
C = ความเร็วแสง = 3x108 m/s
f สูงสุด = ความถี่สูงสุด หน่วยเป็น Hz
ต่ำสุด = ความยาวคลื่นต่ำสุด m
ปรากฎการณ์โฟโตอิเลคตริก
เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อแสงความยาวช่วงคลื่น
สั้นตก กระทบผิวโลหะแล้วเกิดการปล่อยอนุภาคที่มีประจุ
ไฟฟ้า(อิเลคตรอน) ออกมา
= พลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเลคตรอน
= ประจุอิเลคตรอน 1.6x10-19 kg
m = มวลอิเลคตรอน = 9.1x10-31 kg
VS = ความต่างศักย์หยุดยั้ง
hf = พลังงานของแสงที่มีความถี่ f
W = พลังงานยึดเหนี่ยว
สเปคตรัม
สเปคตรัม คือ พลังงานที่ออกมาจากอะตอม
RH = ค่านิจของริดเบอร์ก = 1.097x107 m-1
ทวิภาพของเดอบรอยล์
"คลื่นแสดงสมบัติของอนุภาคได้ และอนุภาคก็แสดง
สมบัติของคลื่นได้"
P = โมเมนต์ตัมของโฟตอน
m = มวลอนุภาค
V = ความเร็วอนุภาค
= ความยาวคลื่น
หลักความไม่แน่นอนของไฮแซนเบอร์ก
= ความไม่แน่นอนทางตำแหน่ง
= ความไม่แน่นอนทางโมเมนตัม
= ค่าคงที่ = 1.054x10-34 J.s